The Development Of CoRT Learning Model To Support The Creative Thinking Skills In Thai Subject For Grade 8 At Ratprachanukrao 8 School

โดย นลินรัตน์ เมืองกาญจน์

ปี 2555

บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบคอร์ท ส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ ในวิชาภาษาไทย และ 2) เปรียบเทียบทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบคอร์ท เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ ในวิชาภาษาไทย

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 30 คน เป็นกลุ่มทดลอง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 จ านวน 30 คน เป็นกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนจัดการเรียนรู้แบบคอร์ท เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ ในวิชาภาษาไทย 2) แบบทดสอบวัดทักษะความคิดสร้างสรรค์ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สถิติอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือสถิติที่กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน Independent T-Test

ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบคอร์ท E[subscript1]/ E[subscript2] เท่ากับ 72.26/75.20 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 70/70 และ 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบคอร์ทเพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะความคิดสร้างสรรค์สูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบคอร์ท อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01

The objectives of this research are: 1) to develop CoRT Learning model to support the creativity thinking skills in Thai Subject; and 2) to compare creativity skill of students in control group against experiment group after using CoRT Learning Model to support the creativity thinking skills in Thai Subject.

The Subjects of this research were 30 of class 2/1 as experiment group and 30 of class 2/2 as control group. Tools used in this research were: 1) CoRT Learning Model to support the creativity thinking skills in Thai Subject; 2) test for Creativity Thinking. Basic statistics used in this research were: mean and standard deviation (SD) while inferential statistic used in hypothesis testing was Independent T-Test.

The results showed that: 1) efficacy of CoRT Learning Model E[subscript1]/ E[subscript2] equaled to 72.26/75.20 that was higher than criteria of 70/70; and 2) students provided with CoRT Learning Model to support the creativity thinking skills ability in Thai Subject had higher creativity skill than students in control group with statistical significance at .01.

Download : การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบคอร์ทเพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ในวิชภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 8