โดย ศรัณย์ พรชัยภิรมย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของการใช้งานระบบสื่อสารเพื่อการปฏิบัติงานของพนักงาน สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 และเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของการใช้งานระบบสื่อสารเพื่อการปฏิบัติงานของพนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 ประชากรประกอบด้วย พนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ประกอบด้วย 7 แผนก/ฝ่าย จ านวนทั้งหมด 409 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือพนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ประกอบด้วย 7 แผนก/ฝ่าย จ านวนทั้งหมด 203 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการใช้งานระบบสื่อสาร ของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 3 เป็นค าถามเกี่ยวกับความพึงพอใจในการสื่อสาร ในด้านการข่าว ภายในสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สทท.11 ส่วนที่ 4 ข้อมูลค าถามปลายเปิด (Open End) เพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น หรือข้อแนะน า ปัญหาอุปสรรคในการใช้งานระบบสื่อสารของ สทท.11

ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ใช้ระยะเวลาในการท างาน 1 -2 ชั่วโมงซึ่งเป็นเวลาที่เหมาะสม ดังนั้นจึงเป็นประโยชน์ส าหรับผู้ดูแลระบบและองค์กร เนื่องจากถ้ามีการใช้งานระบบสื่อสารมากเกินไป อาจจะท าให้งานขององค์กรไม่มีความก้าวหน้า ทางด้านผู้ดูแลระบบก็จะมีเวลาในการจัดสรรระบบสื่อสารเพื่อรองรับการใช้งานให้ครบถ้วนต่อไป ส่วนระดับการศึกษา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาตรี ซึ่งถือได้ว่าอยู่ในขั้นที่สามารถเรียนรู้และใช้ระบบสื่อสารขององค์กรได้เป็นอย่างดีประกอบกับพบว่า บางส่วนยังไม่ปัญหาและอุปสรรคในการใช้ระบบสื่อสารภายในสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จึงควรมีการจัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ระบบสื่อสารให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ การแก้ไขปัญหาเบื้องต้นและระดับกลางเพื่อลดภาระของหน่วยงานที่รับผิดชอบ พิจารณาระดับความพึงพอใจ (มากที่สุด) ระดับการศึกษาชั้น ปวส. จะมีความพึงพอใจที่มากกว่าระดับปริญญาตรี เนื่องจากผู้ตอบแบบสอบถามที่มีการศึกษาสูง อาจจะเคยผ่านการใช้งานระบบสื่อสารที่มีจุดเชื่อมต่อที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการใช้งานสามารถใช้ระบบสื่อสารได้ ดังนั้นระดับการศึกษาส่งผลให้ความพึงพอใจในด้านสถานที่ใช้งานแตกต่างกัน ส่วนสภาพการใช้งานระบบสื่อสารนั้นผู้ตอบแบบสอบถามบางส่วนยังคงใช้ระบบสื่อสารในเรื่องส่วนตัว แต่ก็ไม่ถึงกับสร้างความเสียหายให้แก่องค์กร ดังนั้นควรเสนอให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลด าเนินการสร้างระบบป้องกันการสื่อสาร เพื่อไม่ให้ใช้ในด้านส่วนตัวมากขึ้น

ข้อเสนอแนะจากการศึกษา 1) ด้านความพึงพอใจในตัวระบบสื่อสารมีการป้องกันภัยจากอินเตอร์เน็ตมากจนเกินไป ท าให้ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ 2) หน่วยงานควรเล็งเห็นถึงความส าคัญของอุปกรณ์ เพราะอุปกรณ์ที่มีอยู่มีความช ารุดและเสื่อมประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงควรปรับปรุงและซื้ออุปกรณ์ในระบบสื่อสารที่ทันสมัยอยู่เสมอ 3) ด้านขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน เนื่องจากการท างานทางด้านสื่อสารมวลชน มีช่วงเวลาเลิกปฏิบัติงานที่ไม่แน่นอน ควรจัดให้มีค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตในปัจจุบัน

The objectives of this research were to study 1) factors affecting employee’s satisfaction in the usage of communication systems at National Broadcasting Services of Thailand (NBT), and 2) the levels of employee’s satisfaction in the usage of communication systems at NBT. The population was 409 employees from 7 departments. The sample group was 203 employees which were selected as representatives from each department. The research tool used to collect data was categorized into 4 parts as follows: Part 1) respondents’ personal factors, Part 2) information about usage of communication systems, Part 3) satisfaction level with communication systems in the aspect of news within NBT, and Part 4) open-ended questions for any recommendations, opinions and other problems about using communication systems at NBT.

The results found that the period of time that the respondents worked with communication systems was 1-2 hours, which was the suitable amount of time and beneficial to systems maintenance and the organization. Using communication systems too long may have caused no benefit to organization work and required more system maintenance time allocated to communication systems to completely support further work. Most of the respondents had Bachelor’s degree educational level, which was in the level of having the ability to learn and make very good usage of organizational communication systems. However, some problems and obstacles with using communication systems at NBT occurred and needed up-to-date equipment. Solving problems at the fundamental and middle levels would reduce department work. Considering the highest level of satisfaction and educational level, respondents with vocational diploma had higher satisfaction than those with Bachelor’s degree. Those who had higher education probably used communication systems that had proper link connection and was adequate for the usage; therefore, the difference of educational level affected the satisfaction of usage location. Most of the respondents still used communication systems for personal matters but it was not harmful to the organization. However, a procedure to protect personal usage should be established.

The recommendations from this study were: 1) on satisfaction with communication systems, the systems had too much internet security protection which caused information access problems, 2) the organization should emphasize on up-to-date technology for all equipment and systems, and 3) on morale in working due to unusual working time of mass communication jobs, compensation should be proper and suitable with today’s lifestyle.

DOWNLOAD : ความพึงพอใจของการใช้งานระบบสื่อสาร : กรณีศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย