The development of rajamangala university of technology budgeting approach by the way of strategies performance based budgeting [SPBB]

โดย ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ และคณะ

ปี 2549

บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยเรื่อง การพัฒนากระบวนการบริหารจัดการระบบงบประมาณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโดยงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ชาติ(SPBB) ซึ่งเป็นที่มาจากการ ได้พบปัญหาในระบบงบประมาณได้แก่ การนำงบประมาณไปใช้ไม่ตรงตามผลสัมฤทธิ์กับงาน ความยุติธรรม การจัดสรรงบประมาณขาดการตรวจสอบและการประเมินแผนงานอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ แต่ยังไม่ได้รับการแก้ปัญหาเท่าที่ควร ในการวิจัยนี้ดำเนินไปเพื่อหาปัญหาและแนวทางในการแก้ไขกลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จำนวน 3 หน่วยงาน ในขั้นพัฒนาและศึกษาผลของกระบวนการต่างๆ ได้นำแนวทางความพร้อมตามมาตรฐานการจัดการทางการเงินทั้ง 7 ด้าน โดยการวิจัยเชิงสำรวจ และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ตามวิธีการวิจัยที่ผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทางการบริหารจัดการระบบวบประมาณ โดยระบบวบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ชาติ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ ระยะที่1 การศึกษาสภาพการณ์ ระยะที่ 2 คือการพัฒนากระบวนการ ระยะที่ 3 คือการทดสอบประสิทธิภาพ ผลการวิจัยพบว่า ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ ได้แก่ ระบบการบริหารจัดการคุณภาพประสิทธิภาพของบบประมาณในหน่วยงานตามแนวมาตรฐานทางการเงินทั้ง 7 ด้านคือด้านการวางแผนวบประมาณ ด้านการคำนวณต้นทุนผลผลิต ด้านการจัดการระบบจัดซื้อจัดจ้างมีความ ด้านการบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ ด้านการบริหารทรัพย์สิน ด้านการรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน ด้านการควบลคุมและรวจสอบภายใน ทั้งหมดนี้อยู่ในรับความเหมาะสมปานกลาง ด้านการพัฒนาบุคลากร พบว่ามีการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรด้านวิชาการและการให้บริการ รวมถึงการส่งเสริมบุคลากรให้ทำงานอย่างเต็มความสามารถเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีที่สุด ด้านการสื่อสารภายใน พบว่าวิธีการสื่อสารในองค์การขึ้นอยู่ระดับความสำคัญของข้อมูลดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาการวิธีสื่อสารให้ตรงกับข้อมูลที่มีความแตกต่างกันด้านการประเมินผลการดำเนินงาน พบว่าจะต้องมีการเชื่อมโยงกับการตั้งเป้าหมายโดยมีจุดหมายที่มีเหตุผลสามารถชี้แจงได้ ด้านระบบฐานข้อมูล พบว่าได้พัฒนาให้ครบถ้วนทั้งด้านการใช้ไปและการคงเหลือของเงิน การควบคุมฐานข้อมูลที่เป็นความลับเพื่อไม่ให้ข้อมูลรั่วไหล

Study of “The Development of Rajamanagala University of Technology Budgeting Approach by the way of Strategies Performance Based Budgeting (SPBB)” comprised the data from target groups; administrators, teachers, officers and staffs of 3 organizations of Rajamangka University of Technology Thanyabury. Literature review was based on Seven Standard of Finance Management ( 7 Hurdles), Survey research and Participatory action research, which aimed to combine both quantity and quality research of National Strategy Budgeting Management. The study was divided into 3 steps: step 1 Study on conditions, step 2 Process development and step 3 Effectiveness test. It is found that quality and effectiveness management of the organization based on seven standard of finance management can be concluded on appropriate as follows. Budget plan, Output Costing, Finance management/Fund Control, Budgeting control, Procurement management, Asset management, Financial and Performance Reporting, Internal Audit and Control are medium appropriate. Officer Development can increare the effective of office personnel in terms of academic and services. The proper methodologies that should be employed to develop officer are competency development, communication between each processof work. In order to evaluate budgeting result, there should be the connection between targets which are base on rational. The information needs to be fully developed for both utilization and balance perspective . Moreover, the data control should be proper managed in order to avoid data or information leak.

DOWNLOAD : การพัฒนากระบวนการบริหารจัดการระบบงบประมาณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีโดยงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ชาติ