The Microsoft Outlook Using Behavior of National Science Museum Staff

โดย สาวิตรี ศรีสำราญ

ปี 2552

บทคัดย่อ

การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุคของบุคลากรในองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตและอีเมล์ของบุคลากร (3) ศึกษาระดับความสามารถในการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุคด้านต่าง ๆ ของบุคลากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานและลูกจ้างของ อพวช. จ านวน 120 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างกับกลุ่มตัวแปร 2 กลุ่ม ใช้ t-test Independent การทดสอบความแปรปรวนทางเดียวกับกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่ม ใช้ ANOVA ในกรณีที่พบว่ามีความแตกต่างจะใช้การทดสอบรายคู่โดยวิธี Least Significant Difference (LSD) งานวิจัยนี้ก าหนดนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ผลการวิเคราะห์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 30 – 37 ปี ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีต าแหน่งงานเป็นผู้ปฏิบัติการ ประสบการณ์การท างาน 3 – 5 ปี ในสังกัดส านักบริหาร ด้านพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต อีเมล์และไมโครซอฟต์เอาท์ลุค พบว่า มีความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต มากกว่า 15 ครั้ง/สัปดาห์ ระยะเวลาการใช้งานคือ 1 – 2 ชั่วโมง/ครั้ง วัตถุประสงค์หลักที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต อันดับแรกคือเพื่อค้นหาข้อมูล และรองลงมาเพื่อตรวจเมล์ แบ่งปั่นข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต เพื่อความบันเทิงต่าง ๆ และคุย (chat) ตามล าดับ ใช้อินเทอร์เน็ตที่สถานที่ท างาน มีความถี่ในการรับ/ส่งอีเมล์มากกว่า 15 ครั้ง/สัปดาห์ ใช้อีเมล 2 อีเมล และใช้บริการอีเมล์ของ Hotmail ผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนรู้จักไมโครซอฟต์เอาท์ลุค และมีความถี่ในการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุค มากกว่า 15 ครั้ง/สัปดาห์ ผลการวิเคราะห์ระดับความสามารถในการใช้ไมโครซอฟต์รูปแบบต่าง ๆ อยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านการจัดการระบบรับ/ส่งอีเมล์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.29 ด้านการบันทึกรายชื่อผู้ที่เราติดต่อด้วย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.03 ด้านการบันทึกนัดหมายพร้อมแจ้งเตือน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.12 ด้านการบันทึกงานส าคัญ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.61 และด้านการจดบันทึกย่อไว้เตือนความจ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.50 ผลการวิเคราะห์สมมติฐาน พบว่า เพศ และสังกัดที่แตกต่างกันมีผลต่อระดับความสามารถในการใช้งานไมโครซอฟต์เอาท์ลุคแตกต่างกันในด้านการบันทึกนัดหมายพร้อมแจ้งเตือน อายุและสังกัดที่แตกต่างกันมีผลต่อความสามารถในการใช้งานไมโครซอฟต์เอาท์ลุคแตกต่างกันในจัดระบบรับ/ส่งอีเมล์แตกต่างกัน ผู้ที่มีระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการท างาน และสังกัดหน่วยงานที่แตกต่างกันมีผลต่อความสามารถในการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุคแตกต่างกันในด้านการบันทึกรายชื่อผู้ที่เราติดต่อ ด้านการบันทึกงานส าคัญ และด้านการจดบันทึกย่อไว้เตือนความจ าแตกต่างกัน พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต อีเมล์และไมโครซอฟต์เอาท์ลุค ด้านความถี่ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ระยะเวลาในการใช้งานอินเทอร์เน็ต และสถานที่ใช้อินเทอร์เน็ตต่างกันมีไม่มีผลต่อรูปแบบการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุค วัตถุประสงค์หลักที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตที่แตกต่างกันมีผลต่อรูปแบบการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุคด้านการจัดการระบบรับ/ส่งอีเมล์ ความถี่ในการรับ/ส่งอีเมล์มีผลต่อระดับความสามารถในการใช้งานไมโครซอฟต์เอาท์ลุคในด้านการบันทึกนัดหมายพร้อมแจ้งเตือน ด้านการบันทึกงานส าคัญ และด้านการจดบันทึกย่อไว้เตือนความจ า ด้านจ านวนอีเมล์และอีเมล์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันแตกต่างกันต่อระดับความสามารถในการใช้งานไมโครซอฟต์เอาท์ลุคด้านการบันทึกงานส าคัญ และการจัดการระบบรับ/ส่งอีเมล์ ตามล าดับ ความถี่ในการใช้ไมโครซอฟต์เอาท์ลุคแตกต่างกันมีผลต่อระดับความสามารถในการใช้งานไมโครซอฟต์เอาท์ลุคแตกต่างกันในทุกด้าน

This article aims to collect information from questionnaires for The Microsoft Outlook Using Behavior of National Science Museum Staff. These are used to analyze internet, email behavior and MS Outlook proficiency of personals. The target group for research is NSM officers and staff members, 120 people in total. In collecting data, questionnaires are used as the mean to obtain statistic analysis from percentage, average calculation to standard deviations. This also include difference analysis of two samples using t-test independent and one way analysis of variance with more than two samples using ANOVA. In the case of differences, paired tests are used by applying Least Significant Difference (LSD). For this research, the level of significant is set to 0.05

From the research, results revealed majority of the questionnaire partakers are female administrative executors in age range of 30 – 37 years with Bachelor degree and work experience of 3 to 5 years. Studies showed internet, email and MS Outlook behavior consisted of internet practice over 15 times per week with duration of 1 – 2 hours each time. Partakers’ main reason for internet access were research followed by email checking, file sharing, entertainment, and communication (chat), while only minority of partakers use internet for online purchasing. Email accesses are utilized in workplace with over 15 times per week with majority partakers using hotmail and having 2 Accounts. All questionnaires partakers know MS Outlooks with majority employing the program over 15 times per week. Results expressed moderate proficiency with average of 3.29 in managing email inbox and outbox, 3.03 in creating contact list, 3.12 in managing appointment and alerts, 2.61 in recording important works and a 2.50 in writing memo.

Hypothesis analysis exhibited population gender characteristic and different work sector derives different MS Outlook application in creating appointments and alert. Differences in age of users and work sector obtained varied employment of MS Outlook inbox and outbox management. Partakers with different educational degree, work experience and different work sector employ MS Outlook’s contact list and memo function in dissimilar ways. Where as, individual internet, email and MS Outlook behaviour on frequency, duration and location of use, have no effects on MS Outlook form of application. Different goals in accessing internet have caused various kind inbox and outbox management. Variant in frequencies of received and sent email achieved different uses of appointment, alert, important record and memo function. The number of email Accounts varied the application of MS Outlook on work record making followed by inbox and outbox function. Lastly, all types of MS Outlook application depend on different frequency of MS Outlook use.

DOWNLOAD : The Microsoft Outlook Using Behavior of National Science Museum Staff